Tuesday, October 21, 2008

โครงการดินกระดาษ (Paper Soiled)




หลักการและเหตุผล
วัยเด็กเป็นวัยแห่งการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ รอบตัว เด็กจะเกิดการเรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือ ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และกระบวนการเรียนรู้ที่เปี่ยมไปด้วยจินตนาการ ความสุข สนุกสนาน ตื่นเต้น ประทับใจ การเล่นที่แฝงความคิดสร้างสรรค์มากที่สุด ก็คือกิจกรรมศิลปะ เช่น การวาดภาพระบายสี การประดิษฐ์เศษวัสดุ รวมถึงกิจกรรมการปั้น ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของเด็กไทย เด็กชอบเล่นปั้นด้วยวัสดุที่มีอยู่ทั่วไป เช่น ดินเหนียว ดินน้ำมัน ขี้ผึ้ง ขี้เลื่อย กระดาษ แป้งโด เป็นต้น แป้งโดเป็นวัสดุที่เด็กชอบมากเพราะอ่อนนิ่ม ง่ายต่อการสร้างสรรค์ผลงานสำหรับเด็กปฐมวัย (รายละเอียดแป้งโดดูจากภาคผนวก) และกระดาษเก่าๆ หรือวัสดุเหลือใช้ใกล้ตัวก็สามารถนำมาทำศิลปะได้หรือที่เรียกว่า เปเปอร์มาเช่ (Paper Mache) คือ การนำกระดาษที่ถูกตัดเป็นชิ้นเล็กๆ และผ่านการแช่น้ำจนเปื่อยแล้วมาปิดลงบนแบบที่เตรียมไว้ ปิดหลายๆ ชั้น แต่ละชั้นจะทากาวไว้และจะต้องรอให้กาวแห้งก่อน แต่งผิวให้เรียบร้อย เสร็จแล้วจึงตกแต่งด้วยสี (www.CityVariety.com) ซึ่งมีต้นกำเนิดในทวีปเอเชียและต่อมาได้แพร่หลายในทวีปยุโรป ส่วนใหญ่จะนำมาทำเป็นของเล่น หน้ากาก ถาด และส่วนประกอบของเฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ตกแต่งบ้านและของใช้ (www.geocities.com/papers3d/what_papier) เป็นงานศิลปะที่สามารถสร้างผลงานตามจินตนาการของตัวเองได้โดยไม่ซ้ำแบบใคร สามารถทำได้หลายรูปแบบและทำได้ง่าย วัสดุที่ใช้ก็หาได้ง่ายและราคาถูก แทนที่จะนำกระดาษที่ใช้แล้วทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์ อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าการประยุกต์ให้เศษวัสดุใกล้ตัว ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เกิดความภาคภูมิใจต่อผลงานของตนเอง
นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัยได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดตั้งโครงการดินกระดาษ เป็นการผสมผสานระหว่างการปั้นแป้งโดกับเปเปอร์มาเช่ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เด็กชอบ สามารถทำได้ด้วยตนเอง เด็กและครูมีส่วนร่วมในการสร้างผลงาน เป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับครู และเป็นการลดปริมาณขยะและของเหลือใช้ในบ้าน โรงเรียน และชุมชน รู้จักรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

วัตถุประสงค์
1. เพื่อลดปริมาณขยะและของเหลือใช้ในบ้าน โรงเรียน และชุมชน
2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าและความสำคัญ รวมทั้งรู้จักรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
3. เพื่อส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
4. เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก ครู และผู้ปกครอง

เป้าหมาย
เชิงปริมาณ ผลงาน/ผลิตภัณฑ์จากดินกระดาษ ของเด็กอนุบาล 1/3 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
เชิงคุณภาพ เด็กเห็นคุณค่าของเศษวัสดุเหลือใช้และรู้จักรักษาธรรมชาติ เกิดความคิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ และมีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ครู และผู้ปกครอง

ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
1. วางแผนและกำหนดหัวข้อการจัดทำโครงการ
2. นำเสนอโครงการต่อผู้บริหารโรงเรียน
3. ประชุมร่วมกับผู้บริหารและครูประจำชั้นในการดำเนินโครงการ เพื่อจัดเตรียมสถานที่และวัสดุ/อุปกรณ์
4. จัดกิจกรรมตามขั้นตอน ดังนี้
4.1 จัดเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ที่ได้จากของเหลือใช้ในบ้าน โรงเรียน และชุมชน

4.2 การนำวัสดุอุปกรณ์มาผสมตามวิธีการทำ เพื่อให้ได้มาซึ่งดินกระดาษ
4.3 การสร้างผลงานจากดินกระดาษของเด็ก ครู และผู้ปกครอง
5. สรุปและประเมินผลโครงการ

สถานที่ดำเนินการ
ห้องอนุบาล 1/3 โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ เดือนกันยายน พ.ศ. 2551

งบประมาณ
1. ค่าวัสดุทำกาวแป้งเปียก
- แป้งข้าวจ้าว (Rice flour) 20 บาท

- แป้งสาลี (wheat flour) 20 บาท
2. ค่าวัสดุทำดินกระดาษ
- ดินสอพอง (white clay filler) 20 บาท
- แป้งข้าวโพด (Corn Flour) 30 บาท
- น้ำมันมะกอก (Olive Oil) 60 บาท
- สีผสมอาหาร 20 บาท
- สารกันบูด (preservative) 10 บาท
- แลคเกอร์สำหรับเคลือบเงา 60 บาท
3. ค่าวัสดุอื่น 100 บาท
(หมายเหตุ ขออนุมัติถัวจ่ายทุกรายการ)

ประเมินผล
1. แบบประเมินโครงการของผู้บริหาร

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ลดปริมาณขยะและของเหลือใช้ในบ้าน โรงเรียน และชุมชน
2. เด็กเห็นคุณค่าและความสำคัญ รวมทั้งรู้จักรักษาธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
3. ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
4. ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก ครู และผู้ปกครอง


ภาพกิจกรรม





ภาพที่ 1 เด็กและครูร่วมกันฉีกกระดาษหนังสือพิมพ์เป็นชิ้นเล็กเพื่อนำไปแช่น้ำให้เปื่อย เด็กได้ใช้กล้ามเนื้อเล็กในการฉีกกระดาษเป็นชิ้นเล็กๆ รู้จักทำงานร่วมกันกับผู้อื่น









ภาพที่ 2 ครูผสมส่วนผสมทำดินกระดาษ โดยเด็กมีส่วนร่วมในการนวด เด็กเรียนรู้คุณสมบัติของดินกระดาษที่มีลักษณะเหนียว สามารถนำไปปั้นเป็นรูปร่างได้ รู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่นได้










ภาพที่ 3 ครูผสมส่วนผสมทำดินกระดาษ โดยเด็กมีส่วนร่วมในการนวด เด็กเรียนรู้คุณสมบัติของดินกระดาษที่มีลักษณะเหนียว สามารถนำไปปั่นเป็นรูปร่างได้ รู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่นได้







ภาพที่ 4 ตัวอย่างผลงานเด็ก เด็กสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการ โดยผลงานมีลักษณะแบน เพราะเด็กอายุ 3 ขวบ พัฒนาการการปั้นอยู่ในขั้นกดให้แบน คลึงให้กลม เนื่องจากกล้ามเนื้อมือเด็กยังไม่แข็งแรง และการปั้นดินกระดาษช่วยส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมือและตาให้ทำงานประสานสัมพันธ์กัน และส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์









ภาพที่ 5 ครูนำผลงานเด็กและครูที่ทำร่วมกันมาจัดแสดงให้เพื่อนๆ พี่ๆ ห้องอื่น และผู้ปกครองมาชมผลงาน เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักชื่นชมผลงานของตนเองและผู้อื่น และส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองให้กับเด็ก

Monday, October 20, 2008

การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 (PROF104)

ภาพกิจกรรม
สัปดาห์ที่ 1 หน่วยตัวเรา


ภาพที่ 1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กและครูเคลื่อนไหวแบบผู้นำ – ผู้ตาม พร้อมริบบิ้น ประกอบเพลงตามจินตนาการ โดยให้เด็กออกมาเคลื่อนไหวตามจินตนาการนำเพื่อน ให้เพื่อนทำตาม แต่เด็กยังเขินอาย ไม่กล้าแสดงออก ครูจึงเป็นผู้นำให้เด็กทำตามก่อนแล้วจึงให้เด็กค่อยๆ ออกมาทำตามความสมัครใจ เป็นการส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองและกล้าแสดงออก



ภาพที่ 2 เด็กๆ นำสัญลักษณ์ของตนเอง ไปใส่ในแผ่นเล่นมุม 3 มุม ตามสีคือ ครั้งที่ 1 สีชมพู่ ครั้งที่ 2 สีเหลือง และครั้งที่ 3 สีเขียว ใเด็กหยิบสัญลักษณ์และตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้ และสามารถวางแผนการเลือกมุมร่วมกับเพื่อนได้ เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง คือให้เด็กฟังเสียงเพลงบอกสัญญาณ เมื่อครูตีกลอง ให้เด็กๆ เปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยใน มุมที่ตนเองเล่น เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบในการสร้างข้อตกลงร่วมกับครูได้


ภาพที่ 3 น้องอัปเปอร์กับน้องชมพู่ เลือกเล่นมุมบทบาทสมมติ โดยเล่นสมมติเป็นแม่กับลูกกำลังทำอาหาร เด็กแบ่งของกันเล่น นั่นคือเด็กสามารถเล่นร่วมกันได้ รู้จักเอื้อเฟื้อแบ่งปัน สามารถเล่นสมมติตามความคิดจินตนาการของตนเองได้

ภาพที่ 4 น้องชมพู่ น้องเกรซ น้องวิว และน้องพรีม เลือกเล่นมุมเกมการศึกษา โดยเล่นเกมจับคู่ภาพสัญลักษณ์ และโดมิโนสามเหลี่ยม เด็กสามารถเล่นเกมจับคู่ภาพสัญลักษณ์ได้ แต่ยังเล่นเกมโดมิโนสามเหลี่ยมไม่ค่อยได้ คือต่อภาพที่เหมือนกันยังไม่ได้ ไม่ทราบว่าจะวางด้านไหน ครูจึงช่วยเหลือและแนะนำ เด็กๆ ก็สามารถเล่นได้ เป็นการฝึกการสังเกต และการทำงานที่ประสานสัมพันธ์กันระหว่างมือกับตา


ภาพที่ 5 กิจกรรมกลางแจ้ง เด็กกำลังเล่นเกมช่วยกันแต่งตัวภายในห้องเรียน เนื่องจากฝนกำลังตก สนามแฉะ จากภาพน้องฟลุ๊ค (ธีรเดช) เป็นตัวแทนของกลุ่ม ให้เพื่อนในกลุ่มช่วยแต่งชุดนอน น้องตาลช่วยติดกระดุมเสื้อ น้องคีมกับน้องซอช่วยสวมเสื้อให้น้องฟลุ๊ค เมื่อเด็กแต่งตัวเสร็จแล้วครูก็เปลี่ยนมาเป็นแข่งกันถอดชุด เด็กๆ สามารถทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้อย่างสนุกสนาน มีการพูดคุยกันขณะเล่น แสดงให้เห็นว่าเด็กสามารถแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์


ภาพที่ 6 เด็กทำกิจกรรมกลางแจ้ง โดยออกมาทำกิจกรรมหน้าห้องเรียน เนื่องจากสนามแฉะ ไม่สามารถลงไปเล่นได้ จากภาพเด็กกำลังเดินทรงตัวบนเชือกที่ครูเตรียมไว้ โดยกางแขนช่วยสร้างสมดุลให้ร่างกายไม่ให้เดินออกนอกเส้นเชือก เป็นการส่งเสริมพัฒนาการกล้ามเนื้อใหญ่ และการรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง





แผนการจัดประสบการณ์
สัปดาห์ที่ 1 หน่วย ตัวเรา


วันที่ 1 วันที่ 2 มิถุนายน 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
ปรบมือตามพยางค์ชื่อ และการเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เด็กปรบมือตามพยางค์ชื่อพร้อมทั้งบอกชื่อ
- เด็กปรบมือตามพยางค์ชื่อ โดยไม่พูดชื่อ
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
- เด็กทำท่าทางตามจินตนาการ
- เมื่อครูปิดเพลงให้เด็กๆ หยุดและค้างอยู่ในท่าที่ทำสุดท้ายจนกว่าครูจะเปิดเพลงอีกครั้ง
สื่อการเรียน
1. เทปเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กบอกชื่อตนเองได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กแสดงท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการได้
เนื้อหา
ชื่อเด็ก การร้องเพลงและท่าทางประกอบเพลงสวัสดี
ขั้นกิจกรรม
1. ครูสนทนาสร้างความคุ้นเคยกับเด็ก “สวัสดีค่ะเด็กๆ ครูชื่อครูหญิงนะค่ะ แล้วเด็กๆ ชื่ออะไรกันบ้าง”
2. เด็กแนะนำตัวเองกับเพื่อนและครู
3. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “สวัสดี” โดย
- ครูร้องให้เด็กฟัง 2 รอบ
- เด็กร้องตามครู 2 รอบ
- เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง
- เด็กร้องเพลงพร้อมกัน
4. เด็กแสดงท่าทางประกอบเพลง “สวัสดี”
5. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมที่ทำในวันต่อไป
สื่อการเรียน
1. แผนภูมิเพลงสวัสดี
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการบอกชื่อตนเอง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการแสดงท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการ

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- สีเทียน - ฉีกปะ
- พิมพ์ภาพ - สีน้ำ
กิจกรรมใหม่ คือ
- ปั้นแป้งด้วยมือ
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. สีเทียน
5. กาว 6. กระดาษเหลือใช้
7. สีน้ำ 8. ก้านกล้วย
9. เชือก ยาง 10. พู่กัน
11. แป้งโด 12. แผ่นรองปั้น
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน (หนังสือเกี่ยวกับตัวเด็ก) - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ (แป้งโด)
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูสนทนาเตรียมความพร้อมเด็ก
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูตีกลองบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นวางแผนเลือกมุม
2. กลอง
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. หนังสือเกี่ยวกับตัวเด็ก
5. เกมการศึกษาเกี่ยวกับตัวเด็ก
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กแก้ปัญหาในการทำกิจกรรมได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
7. เด็กสังเกตลักษณะแล้วจับคู่ได้
เนื้อหา
จับคู่ตามคำสั่ง
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำเกมและบอกวิธีการเล่น เกมจับคู่ตามคำสั่ง
- เด็กๆ จับคู่ตามคำสั่งของครู เช่น จับคู่คนผมยาว
- เด็กจับคู่ตามลักษณะที่ครูบอก
- เด็กถามชื่อและแนะนำตัวกับเพื่อนแล้วนั่งลง
3. เด็กๆ ทำกิจกรรมเกมจับคู่ตามคำสั่ง
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการแก้ปัญหาในการทำกิจกรรม
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
7. สังเกตการสังเกตลักษณะแล้วจับคู่

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กนำภาพที่เป็นส่วนย่อยมาต่อเป็นภาพที่สมบูรณ์ได้
5. เด็กจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้
6. เด็กจับคู่ชิ้นส่วนที่หายไปได้
7. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
8. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมภาพตัดต่อ
- เกมจับคู่ภาพเหมือน
- เกมจับคู่ชิ้นส่วนที่หายไป
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมภาพตัดต่อ 2 ชุด
2. เกมจับคู่ภาพเหมือน 1 ชุด
3. เกมจับคู่ชิ้นส่วนที่หายไป 1 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการนำภาพที่เป็นส่วนย่อยมาต่อเป็นภาพที่สมบูรณ์
5. สังเกตการจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
6. สังเกตการจับคู่ชิ้นส่วนที่หายไป
7. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
8. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 2 วันที่ 3 มิถุนายน 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวตามรูปสัญลักษณ์ตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เคาะกลอง 1 ครั้ง ให้ส่งบอลให้เพื่อน 1 ครั้ง
- เคาะกลอง 2 ครั้ง ให้ส่งบอลให้เพื่อน 2 ครั้ง
- เคาะกลองรัว ให้ส่งบอลให้เพื่อนจนกว่าครูจะหยุดเคาะ
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
- เคลื่อนไหวตามรูปสัญลักษณ์ที่ครูชูให้ดู
สื่อการเรียน
1. กลอง 2. ลูกบอล 3. รูปสัญลักษณ์
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กสังเกตและบอกชื่อของใช้ของตนเองได้
3. เด็กเลือกสัญลักษณ์ของตนเองได้
4. เด็กติดสัญลักษณ์บนของใช้ของตนเองได้
เนื้อหา
สัญลักษณ์ประจำตัวเด็ก
ขั้นกิจกรรม
1. ครูสนทนากับเด็กเพื่อนำเข้าสู่กิจกรรม
“สวัสดีค่ะ เด็กๆ เมื่อเช้าเด็กๆ เดินทางมาโรงเรียนอย่างไรค่ะ”
“เด็กนำอะไรมาโรงเรียนบ้าง”
2. ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับของใช้ของตนเอง
“เด็กๆ สังเกตดูซิว่า เด็กๆ มีของใช้ของตนเองอะไรบ้าง” (ที่นอน แก้วน้ำ แปรงสีฟัน กระเป๋า รองเท้า)
3. เด็กเลือกสัญลักษณ์ของตนเองให้ตรงกับสัญลักษณ์บนพื้นตรงที่นั่งอยู่ พร้อมทั้งแนะนำสัญลักษณ์กับเพื่อน
4. เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเองไปติดของใช้ของตน โดยครูคอยให้ความช่วยเหลือ
สื่อการเรียน
1. สัญลักษณ์เด็ก 2. กระเป๋าผนัง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการสังเกตและบอกชื่อของใช้ของตนเอง
3. สังเกตการเลือกสัญลักษณ์ของตนเอง
4. สังเกตการติดสัญลักษณ์บนของใช้ของตนเอง

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - ฉีกปะ
- พิมพ์ภาพ - สีน้ำ
กิจกรรมใหม่ คือ
- ฝนสีเทียน
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. สีเทียน
5. กาว 6. กระดาษเหลือใช้
7. สีน้ำ 8. ก้านกล้วย
9. เชือก ยาง 10. พู่กัน
11. แป้งโด 12. แผ่นรองปั้น
13. เหรียญ 14. ใบไม้
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน (หนังสือเกี่ยวกับตัวเรา) - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูสนทนาเตรียมความพร้อมเด็ก
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูตีกลองบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นวางแผนเลือกมุม
2. กลอง
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. หนังสือเกี่ยวกับตัวเรา
5. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
เดินทรงตัวบนเชือก
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำเกมและบอกวิธีการเล่น เดินทรงตัวบนเชือก
- ให้เด็กทุกคนเดินทรงตัวไปตามแนวเส้นเชือกที่ครูกำหนด
3. เด็กๆ ทำกิจกรรมอย่างอิสระ
4. ครูคอยดูแลความปลอดภัยขณะที่เด็กเล่น
5. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
6. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
7. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมที่ทำผ่านมา
สื่อการเรียน
- เชือก
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กจับคู่ชิ้นส่วนที่หายไปได้
5. เด็กนำภาพที่เหมือนกันต่อกันเป็นโดมิโนสามเหลี่ยมได้
6. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมจับคู่ชิ้นส่วนที่หายไป - เกมโดมิโนสามเหลี่ยม
- เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ชิ้นส่วนสัญลักษณ์ที่หายไป 1 ชุด
2. เกมโดมิโนสามเหลี่ยม 1 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการณ์จับคู่ชิ้นส่วนที่หายไป
5. สังเกตการนำภาพที่เหมือนกันต่อกันเป็นโดมิโนสามเหลี่ยม
6. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 3 วันที่ 4 มิถุนายน 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เคาะกลอง 1 ครั้ง ให้กระโดด
- เคาะกลองรัว ให้วิ่งรอบห้องโดยไม่ชนกับเพื่อน
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
- เมื่อครูเปิดเพลงให้เด็กๆ แสดงท่าทางตามจินตนาการ
- เมื่อครูปิดเพลงให้เด็กๆ หาคู่ โดยจับคู่เพื่อนไม่ซ้ำคู่เดิม
สื่อการเรียน
1. กลอง 2. เทปเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กสังเกตและบอกลักษณะของเพศชายกับเพศหญิงได้
3. เด็กจำแนกเครื่องแต่งกายของเพศชายกับเพศหญิงได้
4. เด็กบอกการปฏิบัติตนต่อเพื่อนได้
เนื้อหา
เพศมี 2 เพศ คือเพศหญิง และเพศชาย ซึ่งมีลักษณะภายนอกที่แตกต่างกัน และเครื่องแต่งกายก็ต่างกัน
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความแตกต่างของผู้ชายกับผู้หญิง
“ครูขอตัวแทนเด็กผู้หญิง 1 คน เด็กผู้ชาย 1 คน”
“เด็กๆ สังเกตดูซิว่าเพื่อนผู้หญิงกับเพื่อนผู้ชายมีอะไรที่เหมือนหรือต่างกันบ้าง”
2. เด็กจำแนกเครื่องแต่งกายของผู้หญิง/ผู้ชาย
“เด็กๆ ดูซิค่ะว่าครูหญิงมีอะไรมาด้วย” (เครื่องแต่งกาย)
“เด็กๆ ช่วยครูหญิงแยกเครื่องต่างกายผู้ชายกับผู้หญิงหน่อยซิค่ะ”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปเครื่องแต่งกายของผู้หญิงกับผู้ชาย
4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงการปฏิบัติตนต่อเพื่อน
“เวลาเราอยู่ร่วมกันกับเพื่อน เด็กๆจะปฏิบัติตัวอย่างไรค่ะ”
5. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำในวันนี้
สื่อการเรียน
1. เครื่องแต่งกายผู้ชายกับผู้หญิง 2. ตะกร้า
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการสังเกตและบอกลักษณะของเพศชายกับเพศหญิง
3. สังเกตการจำแนกเครื่องแต่งกายของเพศชายกับเพศหญิง
4. สังเกตการบอกการปฏิบัติตนต่อเพื่อน

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - สีเทียน
- พิมพ์ภาพ
กิจกรรมใหม่ คือ
- เป่าสี
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. สีเทียน
5. หลอด 6. กระดาษเหลือใช้
7. สีน้ำ 8. ก้านกล้วย
9. เชือก ยาง 10. พู่กัน
11. แป้งโด 12. แผ่นรองปั้น
13. เหรียญ 14. ใบไม้
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน (หนังสือเกี่ยวกับตัวเรา) - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูสนทนาเตรียมความพร้อมเด็ก
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูตีกลองบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นวางแผนเลือกมุม
2. กลอง
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. หนังสือเกี่ยวกับตัวเรา
5. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กันในการเล่น เครื่องเล่นสนาม
เนื้อหา
เครื่องเล่นสนาม ได้แก่ กระดานไม้ลื่น ชิงช้า ไม้กระดกฯลฯ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำเครื่องเล่นสนามและบอกวิธีการเล่น
“เด็กๆ มีวิธีการเล่นเครื่องเล่นสนามให้ปลอดภัยอย่างไรบ้างค่ะ”
3. เด็กๆ เล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระ
4. ครูคอยดูแลความปลอดภัยขณะที่เด็กเล่น
5. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
6. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
7. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมที่ทำผ่านมา
สื่อการเรียน
- เครื่องเล่นสนาม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กันในการเล่นเครื่องเล่นสนาม

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กจำแนกเครื่องแต่งกายผู้ชายกับผู้หญิงได้
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมจำแนกเครื่องแต่งการผู้หญิง - เกมจำแนกเครื่องแต่งการผู้ชาย
- เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมจำแนกเครื่องแต่งการผู้หญิง 1 ชุด
2. เกมจำแนกเครื่องแต่งการผู้ชาย 1 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการจำแนกเครื่องแต่งกายผู้ชายกับผู้หญิง
5. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 4 วันที่ 5 มิถุนายน 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะในระดับสูง กลาง ต่ำ และการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เคาะกลองเป็นจังหวะให้เด็กๆ เดินตามจังหวะ แล้วสังเกตการชูกลองในระดับสูง กลาง ต่ำ
- เด็กสังเกตระดับการชูกลองของครูแล้วเคลื่อนไหวในระดับที่ครูชูกลอง
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
สื่อการเรียน
1. กลอง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กพูดแสดงความคิดเห็นของตนเองได้
3. เด็กบอกความรู้เดิมในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้
4. เด็กช่วยเหลือตนเองในเบื้องต้นได้
เนื้อหา
การช่วยเหลือตนเองเบื้องต้น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูนำภาพเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจกวัตรประจำวัน มาให้เด็กดู
“เด็กๆ เห็นอะไรจากภาพนี้ค่ะ” (ภาพแปรงฟัน อาบน้ำ แต่งตัว รับประทานอาหาร)
2. เด็กและครูสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
“เด็กๆ หลังจากที่เด็กๆ ตื่นนอนแล้วต้องทำอะไรบ้าง”
“ใครที่อาบน้ำ แปรงฟัน ด้วยตัวเองบ้าง...แล้วแปรงฟัน แปรงอย่างไรค่ะ”
3. เด็กทดลองช่วยเหลือตนเองในเบื้องต้น เช่น
- การสวมใส่ถุงเท้า
- การสวมใส่เสื้อผ้า
- การพับที่นอน ผ้าห่ม
4. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำในวันนี้
สื่อการเรียน
1. ภาพเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการพูดแสดงความคิดเห็นของตนเอง
3. สังเกตการบอกความรู้เดิมในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4. สังเกตการช่วยเหลือตนเองในเบื้องต้น

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - สีเทียน
- เป่าสี
กิจกรรมใหม่ คือ
- พิมพ์ภาพ (แกนหลอดด้าย)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. สีเทียน
5. หลอด 6. แกนหลอดด้าย
7. สีน้ำ 8. ก้านกล้วย
9. เชือก ยาง 10. พู่กัน
11. แป้งโด 12. แผ่นรองปั้น
13. เหรียญ 14. ใบไม้
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน (หนังสือเกี่ยวกับตัวเรา) - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูเตรียมความพร้อมเด็กโดยการปฏิบัติตามคำสั่ง เช่น ปรบมือ ตบตัก แตะไหล่ เป็นต้น
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูตีกลองบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นวางแผนเลือกมุม
2. กลอง
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. หนังสือเกี่ยวกับตัวเรา
5. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
เกมช่วยกันแต่งตัว
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมช่วยกันแต่งตัว
- เด็กแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน
- แต่ละกลุ่มเลือกตัวแทน 1 คน เพื่อเป็นคนถูกแต่งตัว
- สมาชิกที่เหลือในกลุ่มช่วยกันแต่งตัวให้เพื่อน
- เมื่อแต่งเสร็จให้คนที่ถูกแต่งตัววิ่งไปหยิบธงกลับมานั่งลง กลุ่มใดเสร็จก่อนเป็นฝ่ายชนะ
3. เด็กลงมือทำกิจกรรม
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อการเรียน
- เสื้อผ้า เครื่องแต่งตัว - ธงสี
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้
5. เด็กนำภาพส่วนย่อยมาต่อเป็นภาพที่สมบูรณ์ได้
6. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมจับคู่ภาพเหมือน - เกมภาพตัดต่อ
- เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. กมจับคู่ภาพเหมือน 1 ชุด
2. เกมภาพตัดต่อ 1 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
5. สังเกตการนำภาพส่วนย่อยมาต่อเป็นภาพที่สมบูรณ์
6. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 5 วันที่ 6 มิถุนายน 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
5. เด็กมีความเชื่อมั่นในตนเอง
6. เด็กปฏิบัติตนเป็นผู้นำ - ผู้ตามได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวแบบผู้นำ - ผู้ตามประกอบริบบิ้นตามจังหวะเพลง
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะไปรอบๆ ห้อง โดยไม่ชนเพื่อน เมื่อได้ยินสัญญาณ “หยุด” ให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที
3. เด็กเคลื่อนไหวแบบผู้นำ – ผู้ตามประกอบริบบิ้นตามจังหวะเพลง
- ให้เด็กแต่ละคนอาสาสมัครออกมาเป็นผู้นำการเคลื่อนไหวประกอบริบบิ้นตามจังหวะเพลง
- เด็กผลัดเปลี่ยนกันออกมาเป็นผู้นำจนครบทุกคน
สื่อการเรียน
1. แทมมารีน 2. ริบบิ้น
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
5. สังเกตการมีความเชื่อมั่นในตนเอง
6. สังเกตการปฏิบัติตนเป็นผู้นำ - ผู้ตาม

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กพูดแสดงความคิดเห็นของตนเองได้
3. เด็กสร้างข้อตกลงในห้องเรียนได้
4. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
เนื้อหา
ข้อตกลงในห้องเรียน
ขั้นกิจกรรม
1. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง “กระซิบ”
2. เด็กและครูสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงในห้องเรียน
“เวลาที่ครูหญิงสอนเด็ก ๆ ควรปฏิบัติตัวอย่างไร
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในห้องเรียน พร้อมเขียนลงกระดาษ
4. ครูนำข้อตกลงติดไว้หน้าห้อง และทบทวนให้เด็กฟังอีกครั้ง
สื่อการเรียน
1. กระดาษแผ่นใหญ่ 2. แผนภูมิเพลงกระซิบ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการพูดแสดงความคิดเห็นของตนเอง
3. สังเกตการสร้างข้อตกลงในห้องเรียน
4. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - สีเทียน
- เป่าสี
กิจกรรมใหม่ คือ
- พิมพ์ภาพ (แกนหลอดด้าย)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. สีเทียน
5. หลอด 6. แกนหลอดด้าย
7. สีน้ำ 8. ก้านกล้วย
9. เชือก ยาง 10. พู่กัน
11. แป้งโด 12. แผ่นรองปั้น
13. เหรียญ 14. ใบไม้
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูสนทนาเตรียมความพร้อมเด็กโดยการทบทวนข้อตกลงในชั้นเรียน
2. ครูแนะนำมุมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูตีกลองบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นวางแผนเลือกมุม
2. กลอง
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
เกมเลี้ยงลูกปิงปองบนกระดาษ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่นเกมเลี้ยงลูกปิงปองบนกระดาษ
- เด็กแบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่ม และจับคู่กัน มีกระดาษให้คู่ละ 1 แผ่น แต่ละคู่จับที่ปลายกระดาษและวางลูกปิงปองบนกระดาษ คู่แรกเลี้ยงลูกปิงปองไปถึงจุดที่กำหนดแล้วเลี้ยงกลับมาส่งให้คู่ต่อไป
- ถ้าทำหล่นให้กลับมาเริ่มใหม่
3. เด็กลงมือทำกิจกรรม
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
5. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงกิจกรรมที่ทำผ่านมา
“คู่ไหนที่ลูกปิงปองหล่นบ้าง เพราะอะไร”
สื่อการเรียน
- ลูกปิงปอง - กระดาษ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กจับคู่ภาพที่เหมือนกันได้
5. เด็กเรียงลำดับภาพจากใหญ่ไปเล็กได้
6. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมจับคู่ภาพเหมือน - เกมเรียงลำดับภาพใหญ่ - เล็ก
- เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพเหมือน 1 ชุด
2. เกมเรียงลำดับภาพใหญ่ - เล็ก 1 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการจับคู่ภาพที่เหมือนกัน
5. สังเกตการเรียงลำดับภาพจากใหญ่ไปเล็ก
6. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

ภาพกิจกรรม

สัปดาห์ที่ 8 หน่วย ฝนจ๋า

ภาพที่ 1 การระดมความคิดเด็กในหน่วยฝน เป็นการให้เด็กแสดงความคิดเห็นในเรื่องฝน สิ่งที่เด็กรู้แล้ว(ปากกาสีน้ำเงิน) คือของใช้ที่ใช้ในฤดูฝน ได้แก่ ร่ม หมวก เสื้อกันฝน ฯลฯ ประโยชน์ของฝนคือใช้ดื่ม สิ่งที่เด็กอยากรู้ (ปากกาสีแดง) คือฝนเกิดได้อย่างไร สัตว์ในฤดูฝนมีอะไรบ้าง สิ่งที่เด็กควรรู้ (ปากกาสีดำ) เป็นเรื่องที่ครูเสริมให้เด็กเรียนรู้คือ โทษของฝน

ภาพที่ 2 กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ครูนำของใช้ที่ใช้ในฤดูฝนมาแนะนำวิธีการใช้ และประโยชน์ โดยใช้คำถามกระตุ้นให้เด็กแสดงความคิดเห็นที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมจากการที่เคยได้พบเห็นหรือใช้ของใช้ในฤดูฝน น้องคีมกับน้องพรีมใส่เสื้อกันฝน และใช้ของใช้ในฤดูฝน คือ รองเท้าบูท ร่ม เด็กเรียนรู้วิธีการใช้และประโยชน์ของร่ม เสื้อกันฝน รองเท้าบูท การให้เด็กออกมาร่วมกิจกรรม เป็นการส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงออก มีความเชื่อมั่นในตนเอง

ภาพที่ 3 กิจกรรมเสริมประสบการณ์ แผนภูมิประโยชน์และโทษของฝน ซึ่งครูนำบัตรภาพ - คำมาสนทนากับเด็ก และเขียนคำให้เด็กดูทีละตัว เพื่อให้เด็กเห็นลีลามือ พร้อมทั้งให้เด็กออกมาเขียนคำตามครู เป็นการส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา เด็กบางคนสามารถเขียนตัวอักษรได้ แต่บางคนก็วาดรูปหรือขีดเขี่ย ซึ่งเป็นไปตามพัฒนาการทางภาษาของเด็กในวัยนี้


แผนการจัดประสบการณ์
สัปดาห์ที่ 8 หน่วย ฝนจ๋า

วันที่ 1 วันที่ 21 กรกฎาคม 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เขย่าลูกแซก ให้กลิ้งตัว
- เคาะแทมมารีน ให้คลาน
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
4. เด็กพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
สื่อการเรียน
1. แทมมารีน
2. ลูกแซก
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กบอกการเกิดฝนได้
4. เด็กเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
เนื้อหา
การเกิดฝน ฝนเกิดจากน้ำได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ แล้วระเหยเป็นไอ ไอจับตัวกันเป็นก้อนเมฆ แล้วกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ ตกลงมาเป็นฝน
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กท่องคำคล้องจอง “ฝนตก” และสนทนาเกี่ยวกับการเกิดฝน
“เด็กๆ คิดว่าฝนเกิดขึ้นได้อย่างไร”
2. ครูสาธิตการเกิดฝนให้เด็กดูและสนทนา
“น้ำในแก้วที่เด็กๆ เห็นเป็นน้ำร้อนหรือน้ำเย็น” (น้ำร้อน”
“มีอะไรลอยขึ้นจากน้ำในแก้ว” (ไอน้ำ)
“เด็กๆ คิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นถ้ามีไอน้ำลอยขึ้นมากๆ” (หยดน้ำ)
“หยดน้ำที่เด็กๆ เห็นเหมือนกับอะไรค่ะ” (ฝน)
3. ครูนำภาพการเกิดฝนมาสนทนากับเด็ก
“เด็กเห็นอะไรในภาพ”
“แล้วเด็กๆ คิดว่าฝนเกิดจากอะไร”
4. เด็กและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเกิดฝน
สื่อการเรียน
1. แก้วใส่น้ำร้อน 2. แผ่นพลาสติก
3. บัตรภาพการเกิดฝน 4. แผนภูมิคำคล้องจอง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการบอกการเกิดฝน
4. สังเกตการเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - พิมพ์ภาพ
- ฉีกปะ ปะติด
กิจกรรมใหม่ คือ
- หยดสี
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. สีเทียน
5. หลอด 6. แกนหลอดด้าย
7. สีน้ำ 8. ก้านกล้วย
9. กาว 10. เศษกระดาษ
11. แป้งโด 12. แผ่นรองปั้น
13. เหรียญ 14. ใบไม้
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูสนทนาเตรียมความพร้อม
2. ครูชักชวนให้เด็กสังเกตความเปลี่ยนแปลงของมุมในห้องเรียน
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูเปิดเพลงบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นวางแผนเลือกมุม
2. สัญลักษณ์เด็ก
3. เทปเพลง
4. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
กระต่ายขาเดียว
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่น กระต่ายขาเดียว
- เด็กกระโดดกระต่ายขาเดียวไล่แตะเพื่อน
- คนที่โดดแตะก็มาเป็นกระต่ายขาเดียวต่อไป
3. เด็กลงมือทำกิจกรรม
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมเรียงร้อยลำดับภาพ - เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมเรียงร้อยลำดับภาพ 2 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 2 วันที่ 22 กรกฎาคม 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวเพลงตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เคาะกลอง 1 ครั้ง ให้สะบัดมือ 1 ครั้ง
- เคาะกลอง 2 ครั้ง ให้สะบัดมือ 2 ครั้ง
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
- ครูแจกไม้ไอติมให้เด็กคนละ 1 อัน
- เมื่อครูเปิดเพลงให้เด็กเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
- เมื่อครูปิดเพลงให้เด็กนำไม้ไอติมมาต่อกันตามจินตนาการ
- เด็กช่วยกันดูว่าเป็นรูปอะไร
4. เด็กพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
สื่อการเรียน
1. กลอง 2. เทปเพลง 3. ไม้ไอติม
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กบอกชื่อสัตว์ที่พบในฤดูฝนได้
4. เด็กเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
เนื้อหา
สัตว์ที่พบเห็นในฤดูฝน ได้แก่ กบ กิ้งกือ งู คางคก อื่งอ่าง เป็นต้น
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง “กบกระโดด” และสนทนา
“ในคำคล้องจองพูดถึงสัตว์อะไร” (กบ)
“กบจะมีในเวลาไหน” (ฝนตก)
“แล้วเด็กๆ จะพบสัตว์อะไรอีก นอกจากกบ” (งู กิ้งกือ คางคก)
2. ครูนำภาพสัตว์ที่มักพบในฤดูฝนมาให้เด็กดู แล้วสนทนา
3. ครูติดภาพบนกระดาษและเขียนคำให้เด็กดู
4. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรมที่ทำ
สื่อการเรียน
1. บัตรภาพสัตว์ 2. แผนภูมิคำคล้องจอง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการบอกชื่อสัตว์ที่พบในฤดูฝน
4. สังเกตการเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - หยดสี
- เป่าสี
กิจกรรมใหม่ คือ
- โรยทรายสี
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. ทรายสี
5. หลอด 6. แผ่นรองปั้น
7. สีน้ำ 8. กาว
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูเตรียมความพร้อมเด็กโดยการท่องคำคล้องจอง “กบกระโดด”
2. ครูชักชวนให้เด็กสังเกตความเปลี่ยนแปลงของมุมในห้องเรียน
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูเปิดเพลงบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผนภูมิคำคล้องจอง
2. แผ่นวางแผนเลือกมุม
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. เทปเพลง
5. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
แม่งูเอ๋ย
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่น แม่งูเอ๋ย
- เด็กเข้าแถวตอนลึก คนแรกเป็นแม่งู คอยป้องกันหางไม่ให้อีกฝ่ายมาจับหางงูได้
- ถ้าผู้เล่นอีกฝ่ายจับหางงูได้ ให้ผู้เล่นที่ถูกจับได้มาต่อแถวของอีกฝ่าย
- ร้องเพลง แม่งูเอ๋ย ขณะเล่น
3. เด็กลงมือทำกิจกรรม
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อการเรียน
-
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมจับคู่ภาพ - ภาพ - เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพ - ภาพ 2 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 3 วันที่ 23 กรกฎาคม 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เคาะกลอง 1 ครั้ง ให้กระโดด 1 ครั้ง
- เคาะกลอง 2 ครั้ง ให้กระโดด 2 ครั้ง
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
4. เด็กพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
สื่อการเรียน
1. กลอง 2. เทปเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กบอกประโยชน์ของฝนได้
4. เด็กบอกโทษของฝนได้
5. เด็กเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
เนื้อหา
ฝนมีประโยชน์และโทษคือ นำฝนสามารถนำใช้ทำความสะอาดวัสดุ อุปกรณ์ ใช้รดน้ำต้นไม้ ใช้ดื่มกิน นอกจากนี้น้ำฝนก็ให้โทษ ถ้าตกหนักน้ำก็ท่วม มีโรคติดต่อเกิดขึ้น
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง “ฝนตกจั่กจั่ก”
2. ครูนำภาพประโยชน์ และโทษของน้ำฝนมาให้เด็กดู แล้วสนทนา
“ประโยชน์ของน้ำฝนมีอะไรบ้าง”
“โทษของน้ำฝนมีอะไรบ้าง”
3. เด็กๆ ช่วยกันแยกภาพประโยชน์และโทษของน้ำฝน
4. เด็กและครูร่วมกันสรุปประโยชน์และโทษของน้ำฝน
สื่อการเรียน
1. บัตรภาพ 2. แผนภูมิคำคล้องจอง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการบอกประโยชน์ของฝน
4. สังเกตการบอกโทษของฝน
5. สังเกตการเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - ฉีกปะ ปะติด
- เป่าสี
กิจกรรมใหม่ คือ
- หยดสีบนกระดาษทิชชู
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. เศษกระดาษ
5. หลอด 6. แผ่นรองปั้น
7. สีน้ำ 8. กาว
9. กระดาษทิชชู
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูเตรียมความพร้อมเด็กโดยการท่องคำคล้องจอง “ฝนตกจั่กจั่ก”
2. ครูชักชวนให้เด็กสังเกตความเปลี่ยนแปลงของมุมในห้องเรียน
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูเปิดเพลงบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผนภูมิคำคล้องจอง
2. แผ่นวางแผนเลือกมุม
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. เทปเพลง
5. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
วิ่งซิกแซก
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่น วิ่งซิกแซก
- เด็กแบ่งเป็นกลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน แล้วเข้าแถว วิ่งซิกแซกอ้อมขวดน้ำ
3. เด็กลงมือทำกิจกรรม
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อการเรียน
- ขวดน้ำ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมจับคู่ภาพ - ภาพ - เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพ - ภาพ 2 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 4 วันที่ 24 กรกฎาคม 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- เขย่าลูกแซก ให้กลิ้งตัว
- เคาะแทมมารีน ให้คลาน
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
4. เด็กพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
สื่อการเรียน
1. ลูกแซก 2. แทมมารีน
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กบอกชื่อของใช้ในฤดูฝนได้
4. เด็กเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
เนื้อหา
ของใช้ในฤดูฝน ได้แก่ ร่ม เสื้อกันฝน รองเท้าบูท ฯลฯ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันท่องคำคล้องจอง “แม่ดำ” แล้วสนทนา
“แม่ดำทำอะไรเมื่อฝนตก” (กางร่ม)
2. เด็กๆ บอกเล่าประสบการณ์ของตนเองเกี่ยวกับการใช้ของใช้ในฤดูฝน
3. ครูนำของใช้ในฤดูฝนมาให้เด็กดูและช่วยกันบอกชื่อของใช้แต่ละชิ้น
4. ตัวแทนเด็กออกมาสาธิตการใช้ของใช้ในฤดูฝนให้เพื่อนดู
4. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม
สื่อการเรียน
1. แผนภูมิคำคล้องจอง 2. ร่ม 3. ชุดกันฝน
4. รองเท้าบูท 5. หมวก
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการบอกชื่อของใช้ในฤดูฝน
4. สังเกตการเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - หยดสี
- กลิ้งสี
กิจกรรมใหม่ คือ
- ระบายสีเทียนบนกระดาษทราย
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. ลูกแก้ว
5. หลอด 6. แผ่นรองปั้น
7. สีน้ำ 8. ฝากล่อง
9. กระดาษทิชชู 10. สีเทียน
11. กระดาษทราย 12. แป้งโด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูเตรียมความพร้อมเด็กโดยการท่องคำคล้องจอง “แม่ดำ”
2. ครูชักชวนให้เด็กสังเกตความเปลี่ยนแปลงของมุมในห้องเรียน
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูเปิดเพลงบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผนภูมิคำคล้องจอง
2. แผ่นวางแผนเลือกมุม
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. เทปเพลง
5. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
มอญซ่อนผ้า
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่น มอญซ่อนผ้า
3. เด็กลงมือทำกิจกรรม
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อการเรียน
- ผ้า
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมจับคู่ภาพ - ภาพ - เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมจับคู่ภาพ - ภาพ 2 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่


วันที่ 5 วันที่ 25 กรกฎาคม 2551
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
2. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและตามจินตนาการได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ได้
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
เนื้อหา
การเคลื่อนไหวตามสัญญาณการเคาะจังหวะ และการเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- เคลื่อนไหวโดยไม่ชนกับเพื่อน
- ฟังและเคลื่อนไหวให้เข้ากับจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐานตามจังหวะ
- ชูผ้าไว้ข้างหน้า ให้เดินหน้า

- ชูผ้าไว้ข้างหลัง ให้ถอยหลัง
3. เด็กเคลื่อนไหวประกอบเพลงตามจินตนาการ
4. เด็กพักผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
สื่อการเรียน
1. ผ้า 2. เทปเพลง
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
2. สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะและประกอบคำบรรยายตามจินตนาการ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กบอกวิธีการดูแลตนเองขณะเกิดฝนตกได้
4. เด็กเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
เนื้อหา
การระมัดระวังดูแลตนเองในฤดูฝน คือ การไม่ตากฝน การใส่เสื้อผ้าหน้า กางร่มขณะฝนตก ฯลฯ
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาภาพเกี่ยวกับการดูแลตนเองในฤดูฝน
“เด็กๆ เห็นอะไรในภาพ”
2. เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงการดูแลตนเองขณะฝนตก
“หากเราโดนฝนเปียกแล้วจะเป็นอย่างไร” (ไข้หวัด)
“หากเด็กๆ เล่นอยู่แล้วฝนกำลังจะตก เด็กๆ จะทำอย่างไร”
3. เด็กและครูร่วมกันสรุปกิจกรรม
สื่อการเรียน
1. บัตรภาพ
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการบอกวิธีการดูแลตนเองขณะเกิดฝนตก
4. สังเกตการเสนอแสดงความคิดเห็นและฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำได้
2. เด็กเลือกกิจกรรมตามความสนใจได้
3. เด็กสร้างผลงานตามจินตนาการได้
4. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. เด็กทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่องได้
7. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ได้แก่
- แป้งโด - สีเทียน
- หยดสี
กิจกรรมใหม่ คือ
- สลัดสี
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำกิจกรรมใหม่
2. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนทำกิจกรรม เช่น
- ต้องแบ่งปันสิ่งของ
- ไม่เสียงดัง
3. เด็กเลือกทำกิจกรรมศิลปะตามความสนใจ 1 - 2 อย่าง
4. เด็กลงมือทำกิจกรรมศิลปะตามที่ได้เลือกไว้
5. เด็กนำผลงานมาเล่าให้เพื่อนและครูฟัง
6. เด็กช่วยกันทำความสะอาดและเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผ่นเลือกกิจกรรมศิลปะ 2. ผ้าเช็ดมือ
3. กระดาษ 4. พู่กัน
5. หลอด 6. แผ่นรองปั้น
7. สีน้ำ 8. สีเทียน
9. แป้งโด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ
2. สังเกตการเลือกกิจกรรมตามความสนใจ
3. สังเกตการสร้างผลงานตามจินตนาการ
4. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
5. สังเกตการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเล่าผลงานเป็นประโยคต่อเนื่อง
7. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมเสรี
จุดประสงค์
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุมได้
2. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. เด็กตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเองได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
มุมประสบการณ์ได้แก่
- มุมดนตรี - มุมบทบาทสมมติ
- มุมอ่าน - มุมวิทยาศาสตร์
- มุมบล็อก - มุมศิลปะ
- มุมเกมการศึกษา (เกมการศึกษา)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูเตรียมความพร้อมเด็กโดยการท่องคำคล้องจอง “แม่ดำ”
2. ครูชักชวนให้เด็กสังเกตความเปลี่ยนแปลงของมุมในห้องเรียน
3. เด็กวางแผนการเล่นมุมต่างๆ อย่างเสรี 3 มุมโดยครูให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
“เด็กนำสัญลักษณ์ของตนเอง มาใส่ในแผ่นวางแผนให้ตรงกับมุมที่เด็กๆ ต้องการเล่นนะคะ”
4. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง
“เมื่อครูเปิดเพลงบอกสัญญาณ ให้เด็กๆเปลี่ยนมุมและสำรวจความเรียบร้อยในมุมที่ตนเองเล่น”
5. เด็กเล่นตามมุมต่างๆ ที่วางแผนไว้
6. ครูให้สัญญาณเปลี่ยนมุม
7. ครูให้สัญญาณหมดเวลา
8. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย
สื่อการเรียน
1. แผนภูมิคำคล้องจอง
2. แผ่นวางแผนเลือกมุม
3. สัญลักษณ์เด็ก
4. เทปเพลง
5. เกมการศึกษา
ประเมินผล
1. สังเกตการปฏิบัติตาม ข้อตกลงเมื่อได้ยินเสียงสัญญาณเตือนให้เปลี่ยนมุม
2. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
3. สังเกตการแสดงอารมณ์สอดคล้องและเหมาะสม กับสถานการณ์
4. สังเกตการณ์ตัดสินใจเลือกทำกิจกรรมด้วยตนเอง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการเก็บของเข้าที่

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและสนทนาโต้ตอบได้
2. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้
3. เด็กแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์ได้
4. เด็กรอคอยตามลำดับก่อน - หลังได้
5. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
6. เด็กใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
เนื้อหา
กระโดดเชือก
ขั้นกิจกรรม
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงก่อนออกไปทำกิจกรรม
2. ครูแนะนำและบอกวิธีการเล่น กระโดดเชือก
3. เด็กลงมือทำกิจกรรม
4. เด็ก ๆ ทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อการเรียน
- เชือก

ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและสนทนาโต้ตอบ
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลง
3. สังเกตการแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมกับบางสถานการณ์
4. สังเกตการรอคอยตามลำดับก่อน - หลัง
5. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
6. สังเกตการใช้กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กิจกรรมเกมการศึกษา
จุดประสงค์
1. เด็กฟังและปฏิบัติตามข้อตกลงได้
2. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อนได้
3. เด็กรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลังได้
4. เด็กตรวจสอบความถูกต้องได้
5. เด็กเก็บของเข้าที่ได้
เนื้อหา
- เกมภาพตัดต่อ - เกมเดิมที่เคยเล่น
ขั้นกิจกรรม
1. ครูแนะนำเกมใหม่พร้อมทั้งอธิบายวิธีการเล่นเกม
2. ครูแบ่งกลุ่มเด็ก กลุ่มละ 4 – 5 คน
3. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลง เช่น
- รอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
- เปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่นเมื่อเล่นเสร็จและตรวจสอบความถูกต้องแล้ว
4. เด็กลงมือเล่นเกมการศึกษา
5. เด็กตรวจสอบความถูกต้องเมื่อเล่นเสร็จ
6. เด็กเปลี่ยนเกมกับเพื่อนกลุ่มอื่น
7. เด็กช่วยกันเก็บของเข้าที่เมื่อทำกิจกรรมเสร็จ
สื่อการเรียน
1. เกมภาพตัดต่อ 2 ชุด
ประเมินผล
1. สังเกตการฟังและปฏิบัติตามข้อตกลง
2. สังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อน
3. สังเกตการรู้จักเอื้อเฟื้อและรอคอยตามลำดับก่อน – หลัง
4. สังเกตการตรวจสอบความถูกต้อง
5. สังเกตการเก็บของเข้าที่